ครูชาญวิทย์

ครูชาญวิทย์
Blog Sites เพื่อประกอบการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ กิจกรรมฝึกทักษะทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558

แบบทดสอบก่อนเรียน 9

หน่วยการเรียนรู้ที่ 9
แหล่งอารยธรรมโบราณในเอเชีย

1. จีนสมัยราชวงศ์ชางมีความก้าวหน้าทางวิทยาการ มากกว่าอารยธรรมอื่นในสมัยเดียวกันในเรื่องใด

  •    ก การใช้ตัวอักษรกึ่งภาพ
  •    ข การหล่ออาวุธด้วยสำริด
  •    ค การใช้กระดูกทำนายโชคชะตา
  •    ง การประดิษฐ์ปฏิทินระบบจันทรคติ

2. ในสมัยใดของจีนที่มีการสร้างสุสานของจักรพรรดิจิ๋นซี

  •    ก สมัยราชวงศ์ฮั่น
  •    ข สมัยราชวงศ์โจว
  •    ค สมัยราชวงศ์ฉิน
  •    ง สมัยราชวงศ์ชาง

3. ปรัชญาขงจื๊อ เล่าจื๊อ เกิดขึ้นมาในช่วงที่สังคมจีนมีสภาพเป็นอย่างไร

  •    ก มีความสงบสุข
  •    ข เกิดความแตกแยกวุ่นวาย
  •    ค มีการแบ่งชนชั้นอย่างชัดเจน
  •    ง กษัตริย์ไม่ปฏิบัติตามอาณัติสวรรค์

4. การคำนวณการเกิดแผ่นดินไหวและการเกิดจันทรุปราคา มีขึ้นในสมัยราชวงศ์ใดของจีน

  •    ก ราชวงศ์ถัง
  •    ข ราชวงศ์ฉิน
  •    ค ราชวงศ์สุย
  •    ง ราชวงศ์ฮั่น

5. สมัยใดของจีนที่มีการนำเปลือกหอยมาเป็นสื่อกลางในการซื้อขาย

  •    ก ราชวงศ์ถัง       
  •    ข ราชวงศ์ฮั่น
  •    ค ราชวงศ์ชาง
  •    ง ราชวงศ์หมิง  

6. ดินแดนใดเคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของจีนเป็นเวลานาน

  •    ก ลาว
  •    ข พม่า
  •    ค เขมร         
  •    ง เวียดนาม

7. คัมภีร์พระเวทเป็นตำราที่เน้นเกี่ยวกับอะไร

  •    ก ศิลปะ
  •    ข ศาสนา
  •    ค การปกครอง
  •    ง ประวัติศาสตร์

8. เพราะเหตุใดชาวอารยันจึงห้ามการแต่งงานกับชาวดราวิเดียน

  •    ก เพราะนับถือศาสนาต่างกัน
  •    ข เพราะชาวดราวิเดียนเป็นพวกเร่ร่อน
  •    ค เพราะขนบธรมเนียมประเพณีต่างกัน
  •    ง เพราะชาวอารยันมีจำนวนน้อยอาจถูกกลืนชาติ

9. พระเวทที่ว่าด้วยระเบียบพิธีกรรมต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับคัมภีร์พรเวทในข้อใด

  •    ก ฤคเวท
  •    ข ยชุรเวท
  •    ค สามเวท
  •    ง อถรรพเวท

10. วรรณะใดที่เป็นผู้ผูกขาดการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ

  •     ก วรรณะศูทร
  •     ข วรรณะแพศย์
  •     ค วรรณะกษัตริย์
  •     ง วรรณะพราหมณ์

 

แบบทดสอบก่อนเรียน 8


หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 
พัฒนาการของภูมิภาคต่าง ๆ ในเอเชีย 

1. เพราะเหตุใดเอเชียตะวันออกจึงมีสภาพภูมิศาสตร์เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐาน

  •    ก ตั้งอยู่ในเขตอบอุ่น
  •    ข มีประชากรจำนวนมาก
  •    ค มีทางออกทะเลทุกด้าน
  •    ง มีแม่น้ำหลายสายไหลผ่าน

2. สมัยราชวงศ์ใดที่จีนรวบรวมแผ่นดินเป็นปึกแผ่นแล้ว ปกครองเป็นจักรวรรดิ

  •    ก ราชวง์โจว
  •    ข ราชวงศ์ชาง
  •    ค ราชวงศ์หมิง
  •    ง ราชวงศ์ฉิน

3. จีนยังไม่ได้ปกครองแบบจักรวรรดิในสมัยราชวงศ์ใด

  •    ก ราชวงศ์ฉิน
  •    ข ราชวงศ์ฮั่น
  •    ค ราชวงศ์ถัง
  •    ง ราชวงศ์โจว

4. ญี่ปุ่นปิดแประเทศไม่ค้าขายกับชาวยุโรปทั้งหมดยกเว้น ข้อใด

  •    ก ชาวดัดซ์
  •    ข ชาวอังกฤษ
  •    ค ชาวอเมริกัน
  •    ง ชาวโปรตุเกส

5. ช่องเขาไคเบอร์เป็นเส้นทางสำคัญที่ชนกลุ่มต่างๆ ผ่านเข้าออกระหว่างเอเชียใต้กับภูมิภาคใด

  •    ก เอเชียกลาง
  •    ข เอเชียตะวันตก
  •    ค เอเชียตะวันออก
  •    ง เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

6. อารยธรรมที่ตกทอดมาจากชาวอารยันคืออะไร

  •    ก การปกครอง
  •    ข ระบบวรรณะ
  •    ค ศาสนาอิสลาม
  •    ง พระพุทธศาสนา                

7. ข้อใดเป็นลักษณะภูมิอากาศของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้

  •    ก อบอุ่นชื้น
  •    ข ป่าฝนเมืองร้อน
  •    ค ร้อนชื้นแบบมรสุม
  •    ง อบอุ่นแบบเมดิเตอร์เรเนียน

8. ดินแดนรูปพระจันทร์เสี้ยวอยู่บริเวณใด

  •    ก ลุ่มน้ำสินธุ
  •    ข ลุ่มน้ำคงคา
  •    ค ลุ่มน้ำหวางเหอ
  •    ง ลุ่มน้ำไทกริส–ยูเฟรทีส

9. แหล่งที่รวมความเชื่อ ปรัชญา แหล่งกำเนิดศาสนาของโลก 3 ศาสนา อยู่ในบริเวณใด

  •    ก เอเชียใต้
  •    ข เอเชียกลาง
  •    ค เอเชียตะวันออก
  •    ง เอเชียตะวันตกเฉียงใต้

10. จักรวรรดิอิสลามเริ่มเสื่อมอำนาจลงเมื่อใด

  •     ก เกิดสงครามร้อยปี
  •     ข เกิดสงครามครูเสด
  •     ค เกิดสงครามกลางเมือง
  •     ง ไม่มีข้อใดถูก


แบบทดสอบก่อนเรียน 7


หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 
บุคคลสำคัญสมัยอยุธยาและธนบุรี

1. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงประกาศใช้กฎหมายทำเนียบศักดินาเพื่ออะไร

  •    ก กำหนดหน้าที่ของขุนนาง
  •    ข กำหนดศักดินาของเจ้านาย
  •    ค กำหนดสิทธิหน้าที่ของมูลนายและไพร่
  •    ง กำหนดอำนาจหน้าที่ของอัครมหาเสนาบดี

2. วรรณกรรมเรื่องอะไรแต่งในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

  •    ก ลิลิตพระลอและจินดามณี
  •    ข ลิลิตยวนพ่ายและกาพย์มหาชาติ
  •    ค มหาชาติคำหลวงและลิลิตยวนพ่าย
  •    ง ลิลิตโองการแช่งน้ำและพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ

3. ชาติตะวันตกชาติใดที่เข้ามากรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2

  •    ก สเปน                 
  •    ข อังกฤษ       
  •    ค ฮอลันดา       
  •    ง โปรตุเกส

4. การทำสารบัญชีในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เกี่ยวข้องกับเรื่องใด

  •    ก การคืนภาษีอากร
  •    ข การเก็บภาษีอากร
  •    ค การเอาชนะในการรบ
  •    ง การสำรวจจำนวนไพร่

5. คุณธรรมข้อใดของพระสุริโยทัยที่ควรนำมาเป็นแบบอย่าง

  •    ก ความขยัน
  •    ข ความอดทน
  •    ค ความซื่อสัตย์
  •    ง ความกล้าหาญ

6. พระราชกรณียกิจที่สำคัญของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชรองจากประกาศอิสรภาพคืออะไร

  •    ก การส่งทูตไปจีน
  •    ข การขยายดินแดน
  •    ค การทำสงครามยุทธหัตถี
  •    ง การฟื้นฟูบ้านเมืองหลังสงคราม

7. หนังสือเรียนภาษาไทยเล่มแรกที่แต่งในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชคือเรื่องอะไร

  •    ก จินดามณี
  •    ข ปฐม ก กา
  •    ค มูลบทบรรพกิจ
  •    ง สมุทรโฆษคำฉันท์

8. เมื่อกอบกู้เอกราชแล้วสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกระทำสิ่งใดก่อน

  •    ก ปราบจลาจลในเขมร
  •    ข ส่งกองทัพไปตีเวียงจันทน์
  •    ค ปราบชุมนุมที่ตั้งตนป็นอิสระ
  •    ง เตรียมทัพเพื่อยกไปโจมตีพม่า

9. สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้รับตำแหน่งใดใน สมัยสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

  •    ก หลวงยกบัตร
  •    ข พระยายมราช
  •    ค เจ้าพระยาจักรี
  •    ง พระยาอภัยรณฤทธิ์

10. เจ้าพระยาสุรสีห์ได้ครองเมืองใด

  •     ก จันทบุรี
  •     ข เชียงใหม่
  •     ค พิษณุโลก
  •     ง สุพรรณบุรี


แบบทดสอบก่อนเรียน 6


หน่วยการเรียนรู้ที่ 6  
ภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี

1. ปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีคืออะไร

  •    ก อาหารการกิน
  •    ข วิถีชีวิตความเป็นอยู่
  •    ค ความเชื่อและศาสนา
  •    ง ถูกทุกข้อ

2. การนำปลามาทำปลาเค็มเกี่ยวข้องกับปัจจัยที่ทำให้เกิดการสร้างสรรค์ภูมิปัญญาไทยด้านใดมากที่สุด

  • ก การแพทย์
  • ข ความบันเทิง
  • ค อาหารการกิน
  • ง การประกอบอาชีพ

3. งานศิลปกรรมส่วนใหญ่ในสมัยอยุธยาเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร

  •    ก ความงามของธรรมชาติ
  •    ข ความเป็นอยู่ของประชาชน
  •    ค ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา
  •    ง ความเป็นอยู่ของเจ้านายและขุนนาง

4. ศิลปกรรมสมัยธนบุรีรับแบบอย่างมาจากไหน

  •    ก ลพบุรี
  •    ข อยุธยาตอนต้น
  •    ค อยุธยาตอนกลาง
  •    ง อยุธยาตอนปลาย

5. พระพุทธรูปปางมารวิชัยได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะแบบใด

  •    ก ศิลปะอู่ทอง
  •    ข ศิลปะแบบสุโขทัย
  •    ค ศิลปะแบบเชียงแสน
  •    ง ศิลปะแบบทวารวดี

6. ผลงานชิ้นใดจัดเป็นงานประณีตศิลป์ในสมัยอยุธยา

  •    ก สมุดภาพไตรภูมิพระร่วง
  •    ข พระพุทธรูปสลักด้วยศิลาทรายสีแดง
  •    ค พระเจดีย์ทรงลังกาวัดพระศรีสรรเพชญ์
  •    ง ประตูโบสถ์ประดับมุกที่วัดพระศรีมหาธาตุ

7. ละครประเภทใดมีการดำเนินเรื่องรวดเร็ว ตลกขบขัน และโลดโผน

  •    ก ละครใน
  •    ข ละครนอก
  •    ค ละครพื้นบ้าน
  •    ง ละครดึกดำบรรพ์

8. ลิลิตโองการแช่งน้ำแต่งขึ้นมาเพื่ออะไร

  •    ก อบรมสั่งสอนขุนนาง
  •    ข สรรเสริญผู้ทำความดี
  •    ค ใช้อ่านในพิธีถือน้ำพระพิพัฒน์สัตยา
  •    ง ให้ขุนนางชั้นผู้ใหญ่นำไปเป็นแนวปฏิบัติ

9. วรรณกรรมต่อไปนี้เรื่องใดให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์มากที่สุด

  •    ก ลิลิตพระลอ
  •    ข ลิลิตยวนพ่าย
  •    ค กาพย์มหาชาติ
  •    ง มหาชาติคำหลวง

10. พระราชพิธีเห่เรือจัดขึ้นในเดือนใด

  •     ก เดือน 9
  •     ข เดือน 10
  •     ค เดือน 11
  •     ง เดือน 12


แบบทดสอบก่อนเรียน 5






หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

1. สาเหตุสำคัญที่สุดที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นอำนาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร

  •    ก พม่ามีกำลังเหนือกว่า
  •    ข ขาดแคลนเสบียงอาหาร
  •    ค พม่าใช้กลยุทธ์ไส้ศึกภายใน
  •    ง ความอ่อนแอทางด้านทหารและการเมือง

2. พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาไปรวบรวมผู้คนที่เมืองใด

  •    ก เมืองตาก               
  •    ข เมืองจันทบุรี         
  •    ค เมืองพิษณุโลก
  •    ง เมืองกำแพงเพชร

3. ชุมนุมแรกที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามได้สำเร็จคือชุมนุมใด

  •    ก ชุมนุมเจ้าพิมาย
  •    ข ชุมนุมเจ้าพระฝาง
  •    ค ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก
  •    ง ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช 

4. อะไรคือเหตุผลที่สำคัญที่สุดในการเลือกเมืองธนบุรีเป็นราชธานีใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา

  •    ก มีป้อมปราการพร้อม
  •    ข มีทางหนีออกทะเลสะดวก
  •    ค อยู่ใกล้ปากน้ำเหมาะแก่การค้า
  •    ง เป็นเมืองเล็กเหมาะกับกำลังพลที่มีอยู่

5. ในสมัยธนบุรีกรมใดที่มีหน้าที่ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ

  •    ก กรมวัง
  •    ข กรมนา
  •    ค กรมคลัง
  •    ง กรมเวียง

6. หัวเมืองใดที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการผู้ใหญ่ไปปกครอง

  •    ก หัวเมืองชั้นใน
  •    ข หัวเมืองชั้นนอก
  •    ค หัวเมืองชั้นจัตวา
  •    ง หัวเมืองประเทศราช

7. เพราะเหตุใดในสมัยธนบุรีจึงมีการสักเลกไพร่ทุกคน

  •    ก เพื่อควบคุมกำลังพล
  •    ข ต้องการจำกัดอำนาจของมูลนาย
  •    ค ต้องการให้ราษฎรมีระเบียบวินัย
  •    ง  บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามตลอดเวลา

8. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใช้นโยบายใดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเกี่ยวกับการขาดแคลนอาหารของราษฎร

  •    ก ทำโรงทานเลี้ยงผู้ที่อดอยาก
  •    ข ประกาศลงโทษผู้กักตุนสินค้า
  •    ค ขุดคลองชลประทานเพื่อทำนาปรัง
  •    ง สละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวแจกราษฎร

9. กรุงธนบุรีมีความเป็นมิตรกับรัฐใดมากที่สุด

  •    ก พม่า
  •    ข เขมร
  •    ค ล้านนา
  •    ง ล้านช้าง

10. ชาติตะวันตกชาติใดไม่ได้เข้ามาติดต่อกับกรุงธนบุรี

  •     ก อังกฤษ
  •     ข ฮอลันดา
  •     ค โปรตุเกส
  •     ง สหรัฐอเมริกา 


แบบทดสอบก่อนเรียน 4






หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศสมัยอยุธยา


1. การดำเนินนโยบายทางการเมือง ปัจจัยที่กำหนดให้อยุธยาดำเนินความสัมพันธ์กับต่างชาติมีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร

  •    ก การขยายอำนาจ
  •    ข การแลกเปลี่ยนสินค้ากับชาวต่างชาติ
  •    ค แสดงความเข้มแข็งและอำนาจของอาณาจักร
  •    ง ให้ต่างชาติเข้ามามากขึ้นเพื่อให้ราษฎรมีความรู้ด้านภาษา

2. การที่อยุธยาได้ผลักดันนโยบายทางการเมืองและขยายอำนาจไปยังรัฐอื่นเพื่อเหตุต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด

  •    ก บรรณาการ                
  •    ข การเผยแผ่ศาสนา       
  •    ค การขยายดินแดน
  •    ง การควบคุมเมืองท่า

3. อยุธยามีความสัมพันธ์แบบรัฐบรรณาการกับชาติใด

  •    ก จีน
  •    ข ญี่ปุ่น
  •    ค อังกฤษ
  •    ง ฝรั่งเศส

4. อยุธยากับญี่ปุ่นมีการค้าขายกันอย่างเสรีและเจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็วในสมัยกษัตริย์พระองค์ใด

  •    ก สมเด็จพระเอกาทศรถ
  •    ข สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
  •    ค สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
  •    ง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

5. ในสมัยอยุธยากษัตริย์พระองค์ใดเสด็จไปประทับที่เมืองพิษณุโลก

  •    ก สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
  •    ข สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
  •    ค สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
  •    ง สมเด็จพระบรมบรมไตรโลกนาถ

6. อาณาจักรใดที่เป็นรัฐกันชนระหว่างอยุธยากับพม่า

  •    ก อาณาจักรเขมร         
  •    ข อาณาจักรมอญ         
  •    ค อาณาจักรล้านนา
  •    ง อาณาจักรล้านช้าง

7. อะไรคือสาเหตุที่ทำให้อยุธยากับบริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษมีความขัดแย้งกัน

  •    ก การค้า
  •    ข ศาสนา
  •    ค การเมือง
  •    ง ทรัพยากรธรรมชาติ

8. ชาติตะวันตกที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับอยุธยา มีจุดมุ่งหมายเพื่ออะไร

  •    ก เผยแพร่วิทยาการ
  •    ข แสวงหาอาณานิคม
  •    ค ค้าขายและเผยแผ่ศาสนา
  •    ง แสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ

9. จุดประสงค์สำคัญที่สุดที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศส คือเรื่องอะไร

  •    ก การค้าระหว่างประเทศ
  •    ข การสร้างพระราชวังใหม่
  •    ค การให้คานอำนาจกับฮอลันดา
  •    ง การช่วยเหลือทางด้านวิทยาการสมัยใหม่

10. อยุธยามีสัมพันธไมตรีกับชาติตะวันตกก่อให้เกิดผลดีในด้านใดมากที่สุด

  •     ก ชาติตะวันตกไม่กล้ารุกรานไทย
  •     ข ชาวไทยมีโอกาสนับถือคริสต์ศาสนา
  •     ค อยุธยาเป็นที่รู้จักของชาติตะวันตกมากขึ้น
  •     ง ได้รับวิทยาการจากชาติตะวันตกมาพัฒนาบ้านเมือง


แบบทดสอบก่อนเรียน 3







หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยา

1. สมัยอยุธยาใช้ระบบใดในการจัดระเบียบชนชั้นในสังคม

  •    ก ระบบขุนนาง
  •    ข ระบบมูลนาย
  •    ค ระบบศักดินา
  •    ง ระบบชนชั้นปกครอง

2. ในสังคมอยุธยาคนกลุ่มใดมีจำนวนมากที่สุด

  •    ก ไพร่
  •    ข ทาส
  •    ค ขุนนาง
  •    ง พระสงฆ์

3. บุคคลใดไม่มีการกำหนดศักดินาไว้

  •    ก ไพร่
  •    ข ทาส
  •    ค พระสงฆ์
  •    ง พระมหากษัตริย์

4. ไพร่ประเภทใดขึ้นทะเบียนสังกัดพระมหากษัตริย์โดยตรง

  •    ก ไพร่สม
  •    ข ไพร่ส่วย
  •    ค ไพร่ทาส
  •    ง ไพร่หลวง

5. ข้อใดเป็นพระราชกณียกิจที่สำคัญ ของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ในการทำนุบำรุงพระพุทธ
   ศาสนา

  •    ก สร้างวัด
  •    ข เสด็จออกผนวช
  •    ค สังคายนาพระไตรปิฎก
  •    ง ส่งสมณทูตไปเผยแผ่ศาสนา

6. ในสมัยอยุธยามีการเก็บฤชา อากร ส่วย จากบุคคลกลุ่มใด

  •    ก ราษฎร
  •    ข ชาวจีน
  •    ค ขุนนาง
  •    ง ชาวตะวันตก

7. กรมท่าซ้ายที่ตั้งในสมัยอยุธยามีหน้าที่เกี่ยวกับอะไร

  •    ก การค้าภายใน
  •    ข การค้ากับชาติยุโรป
  •    ค การค้ากับดินแดนทางตะวันตก
  •    ง การค้ากับดินแดนทางตะวันออก

8. ในสมัยอยุธยาสินค้าประเภทใดต้องซื้อขายผ่านพระคลังสินค้า

  •    ก ผ้าแพร
  •    ข พริกไทย
  •    ค กำมะถัน
  •    ง เครื่องปั้นดินเผา

9. อากรประเภทใดเก็บจากผู้ปลูกอ้อย ข้าวโพด

  •    ก อากรนา
  •    ข อากรสวน
  •    ค อากรศุลกากร
  •    ง อากรสมพัตสร

10. การสร้างและดูแลป้อม ค่าย จัดเป็นค่าใช้จ่ายประเภทใด

  •     ก เบี้ยหวัด
  •     ข การทหาร
  •     ค พระราชพิธี
  •     ง ราชการพิเศษ


แบบทดสอบก่อนเรียน 2







1. พระเจ้าอู่ทองมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์อย่างไร

  •    ก กู้เอกราชจากพม่า
  •    ข รวมสุโขทัยกับอยุธยาเข้าด้วยกัน
  •    ค สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
  •    ง  ปกครองบ้านเมืองแบบพ่อปกครองลูก

2. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา

  •    ก ช่องว่างทางการเมือง
  •    ข ความมั่นคงทางยุทธศาสตร์
  •    ค ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่
  •    ง การให้ความช่วยเหลือจากต่างชาติ

3. ใครที่เสนอแนวคิดว่า พระเจ้าอู่ทองเป็นผู้ครองเมืองละโว้ หรือเมืองสุพรรณภูมิมาก่อน

  •    ก ซีมง เดอ ลาลูแบร์
  •    ข นายตรี อมาตยกุล
  •    ค หลวงประเสริฐอักษรนิติ์
  •    ง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

4. ในสมัยอยุธยาตอนต้นกรมใดที่มีหน้าที่ดูแลรักษาพระราชทรัพย์ และผลประโยชน์ของอาราจักร

  •    ก กรมวัง                       
  •    ข กรมนา
  •    ค กรมคลัง                       
  •    ง กรมเวียง

5. เมืองในข้อใดจัดเป็นเมืองลูกหลวงในสมัยอยุธยาตอนต้น

  •    ก ลพบุรี ปราจีนบุรี ถลาง
  •    ข ทวาย ตะนาวศรี สงขลา
  •    ค พระประแดง ลพบุรี นครนายก
  •    ง นครศรีธรรมราช เพชรบุรี สุพรรณบุรี

6. กฎหมายใดที่ลงโทษผู้ละเมิดพระราชโองการ พระราชบัญญัติ

  •    ก กฎมณเทียรบาล พ.ศ. 2011
  •    ข กฎหมายลักษณะอาญาหลวง (เพิ่มเติม)
  •    ค กฎหมายลักษณะอาญาขบถศึก พ.ศ. 2000
  •    ง พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน พ.ศ. 1998

7. "พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมือง" คำกล่าวนี้มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด

  •    ก ทรงเป็นจอมทัพ
  •    ข ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน
  •    ค ทรงเป็นประมุขของชาติ
  •    ง ทรงควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน

8. กฎหมายฉบับใดที่จำแนกฐานะทางสังคมของชาวอยุธยาตั้งแต่ชนชั้นสูงสุดจนถึงต่ำสุด

  •    ก กฎมณเฑียรบาล พ.ศ. 2011
  •    ข กฎหมายลักษณอาญาขบถศึก พ.ศ. 2000
  •    ค พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน พ.ศ. 1998
  •    ง พระไอยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง พ.ศ. 1998

9. อะไรเป็นปัจจัยที่เป็นสาเหตุแห่งความเสื่อมของอาณาจักรอยุธยา

  •     ก ความเข้มแข็งของอาณาจักรพม่า
  •     ข ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
  •     ค การแย่งชิงอำนาจของขุนนางและเจ้านาย
  •     ง ถูกทุกข้อ

10. พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยาคือใคร

  •      ก สมเด็จพระเพทราชา
  •      ข สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
  •      ค สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
  •      ง สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์






แบบทดสอบก่อนเรียน 1









1. ร่องรอยการกระทำของมนุษย์ในอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันเรียกว่าอะไร

  •    ก วิธีการทางประวัติศาสตร์
  •    ข หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 
  •    ค เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
  •    ง กระบวนการทางประวัติศาสตร์

2. ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นรอง

  •    ก อนุสาวรีย์บุคคลสำคัญ
  •    ข โบราณสถานโบราณวัตถุ
  •    ค หนังสือพิมพ์ที่รายงานข่าว
  •    ง  จดหมายเล่าเรื่องราวต่าง ๆ 

3. ข้อใดเป็นการแบ่งประเภทหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามความสำคัญ

  •    ก หลักฐานชั้นต้นกับหลักฐานชั้นรอง
  •    ข เป็นลายลักษณ์อักษรกับไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
  •    ค หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นกับหลักฐานทางธรรมชาติ
  •    ง หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับหลักฐานทางประวัติศาสตร์

4. ลิลิตยวนพ่ายใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยใด

  •   ก สมัยสุโขทัย           
  •   ข สมัยอยุธยา           
  •   ค สมัยธนบุรี 
  •   ง สมัยรัตนโกสินทร์ตแอนต้น

5. การพิจารณาสาระที่อยู่ในหลักฐานว่าบอกเล่าเรื่องราวอะไรบ้าง เรียกว่าอะไร

  •    ก การประเมินภายใน
  •    ข การวิพากษ์ภายนอก
  •    ค การประเมินภายนอก
  •    ง การตรวจสอบหลักฐาน

6. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประเมินภายนอก

  •    ก เพื่อดูว่าข้อมูลเชื่อถือได้หรือไม่
  •    ข เพื่อต้องการช่วงเวลาของหลักฐาน
  •    ค เพื่อต้องการรู้วิธีการนำเสนอข้อมูล
  •    ง เพื่อให้รู้ว่าหลักฐานนั้นจริงหรือปลอม

7. หลักฐานประเภทใดไม่ควรใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์

  •    ก หลักฐานปลอม
  •    ข หลักฐานที่เขียนหลังเหตุการณ์
  •    ค หลักฐานที่ให้ข้อมูลจริงบ้างเท็จบ้าง
  •    ง ไม่มีข้อใดถูก

8. การทำความเข้าใจว่าหลักฐานให้ข้อมูลหรือข้อเท็จจริง อะไร เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

  •    ก การตีความ
  •    ข การประเมินหลักฐาน
  •    ค การรวบรวมหลักฐาน
  •    ง การเรียบเรียงและนำเสนอ

9. สิ่งใดที่อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่จำเป็นต้องมีหลักฐานสนับสนุน

  •    ก ความจริง              
  •    ข ข้อเท็จจริง 
  •    ค ความคิดเห็น             
  •    ง ถูกทุกข้อ

10. การตีความขั้นต้นจะทำไม่ได้เลยถ้าผู้ตีความขาดความรู้เรื่องอะไร

  •     ก อายุของหลักฐาน
  •     ข ประวัติของผู้สร้างหลักฐาน
  •     ค สภาพสังคมในช่วงเวลาที่สร้างหลักฐาน
  •     ง ความหมายของถ้อยคำสำนวนในหลักฐาน


แบบทดสอบประเมิน 1







1. ร่องรอยการกระทำของมนุษย์ในอดีตที่ยังหลงเหลืออยู่ในปัจจุบันเรียกว่าอะไร

  • 1) วิธีการทางประวัติศาสตร์
  • 2) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ 
  • 3) เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
  • 4) กระบวนการทางประวัติศาสตร์

2. ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นรอง

  • 1) อนุสาวรีย์บุคคลสำคัญ
  • 2) โบราณสถานโบราณวัตถุ
  • 3) หนังสือพิมพ์ที่รายงานข่าว
  • 4) จดหมายเล่าเรื่องราวต่าง ๆ 

3. ข้อใดเป็นการแบ่งประเภทหลักฐานทางประวัติ- ศาสตร์ ตามความสำคัญ

  • 1) หลักฐานชั้นต้นกับหลักฐานชั้นรอง
  • 2) เป็นลายลักษณ์อักษรกับไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
  • 3) หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นกับหลักฐานทางธรรมชาติ
  • 4) หลักฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์กับหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์

4. ลิลิตยวนพ่ายใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สมัยใด

  • 1) สมัยสุโขทัย           
  • 2) สมัยอยุธยา            
  • 3) สมัยธนบุรี
  • 4) สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

5. การพิจารณาสาระที่อยู่ในหลักฐานว่าบอกเล่าเรื่องราว อะไรบ้าง เรียกว่าอะไร

  • 1) การประเมินภายใน
  • 2) การวิพากษ์ภายนอก
  • 3) การประเมินภายนอก
  • 4) การตรวจสอบหลักฐาน

6. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประเมินภายนอก

  • 1) เพื่อดูว่าข้อมูลเชื่อถือได้หรือไม่
  • 2) เพื่อต้องการช่วงเวลาของหลักฐาน
  • 3) เพื่อต้องการรู้วิธีการนำเสนอข้อมูล
  • 4) เพื่อให้รู้ว่าหลักฐานนั้นจริงหรือปลอม

7. หลักฐานประเภทใดไม่ควรใช้ในการศึกษา ประวัติศาสตร์

  • 1) หลักฐานปลอม
  • 2) หลักฐานที่เขียนหลังเหตุการณ์
  • 3) หลักฐานที่ให้ข้อมูลจริงบ้างเท็จบ้าง
  • 4) ไม่มีข้อใดถูก

8. การทำความเข้าใจว่าหลักฐานให้ข้อมูลหรือข้อเท็จจริง อะไร เป็นขั้นตอนใดของวิธีการทางประวัติศาสตร์

  • 1) การตีความ
  • 2) การประเมินหลักฐาน
  • 3) การรวบรวมหลักฐาน
  • 4) การเรียบเรียงและนำเสนอ


9. สิ่งใดที่อาจเกิดขึ้นได้โดยไม่จำเป็นต้องมีหลักฐานสนับสนุน

  • 1) ความจริง               
  • 2) ข้อเท็จจริง             
  • 3) ความคิดเห็น
  • 4) ถูกทุกข้อ

10. การตีความขั้นต้นจะทำไม่ได้เลยถ้าผู้ตีความขาดความรู้เรื่องอะไร

  • 1) อายุของหลักฐาน
  • 2) ประวัติของผู้สร้างหลักฐาน
  • 3) สภาพสังคมในช่วงเวลาที่สร้างหลักฐาน
  • 4) ความหมายของถ้อยคำสำนวนในหลักฐาน

11. พระเจ้าอู่ทองมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์อย่างไร

  • 1) กู้เอกราชจากพม่า
  • 2) รวมสุโขทัยกับอยุธยาเข้าด้วยกัน
  • 3) สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
  • 4) ปกครองบ้านเมืองแบบพ่อปกครองลูก

12. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่เอื้อต่อการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา

  • 1) ช่องว่างทางการเมือง
  • 2) ความมั่นคงทางยุทธศาสตร์
  • 3) ความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่
  • 4) การให้ความช่วยเหลือจากต่างชาติ

13. ใครที่เสนอแนวคิดว่า พระเจ้าอู่ทองเป็นผู้ครองเมืองละโว้ หรือเมืองสุพรรณภูมิมาก่อน

  • 1) ซี มง เดอ ลาลูแบร์
  • 2) นายตรี อมาตยกุล
  • 3) หลวงประเสริฐอักษรนิติ์
  • 4) สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ

14. ในสมัยอยุธยาตอนต้นกรมใดที่มีหน้าที่ดูแลรักษาพระราชทรัพย์ และผลประโยชน์ของอาราจักร

  • 1) กรมวัง                       
  • 2) กรมนา                       
  • 3) กรมคลัง
  • 4) กรมเวียง

15. เมืองในข้อใดจัดเป็นเมืองลูกหลวงในสมัยอยุธยาตอนต้น

  • 1) ลพบุรี ปราจีนบุรี ถลาง
  • 2) ทวาย ตะนาวศรี สงขลา
  • 3) พระประแดง ลพบุรี นครนายก
  • 4) นครศรีธรรมราช เพชรบุรี สุพรรณบุรี

16. กฎหมายใดที่ลงโทษผู้ละเมิดพระราชโองการพระราชบัญญัติ

  • 1) กฎมณเทียรบาล พ.ศ. 2011
  • 2) กฎหมายลักษณะอาญาหลวง (เพิ่มเติม)
  • 3) กฎหมายลักษณะอาญาขบถศึก พ.ศ. 2000
  • 4) พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน พ.ศ. 1998

17. "พระมหากษัตริย์ทรงเป็นศูนย์กลางอำนาจทางการเมือง" คำกล่าวนี้มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด

  • 1) ทรงเป็นจอมทัพ
  • 2) ทรงเป็นพระเจ้าแผ่นดิน
  • 3) ทรงเป็นประมุขของชาติ
  • 4) ทรงควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน

18. กฎหมายฉบับใดที่จำแนกฐานะทางสังคมของชาวอยุธยาตั้งแต่ชนชั้นสูงสุดจนถึงต่ำสุด

  • 1) กฎมณเฑียรบาล พ.ศ. 2011
  • 2) กฎหมายลักษณอาญาขบถศึก พ.ศ. 2000
  • 3) พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน พ.ศ. 1998
  • 4) พระไอยการตำแหน่งนาทหารหัวเมือง พ.ศ. 1998


19. อะไรเป็นปัจจัยที่เป็นสาเหตุแห่งความเสื่อมของอาณาจักรอยุธยา

  • 1) ความเข้มแข็งของอาณาจักรพม่า
  • 2) ความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
  • 3) การแย่งชิงอำนาจของขุนนางและเจ้านาย
  • 4) ถูกทุกข้อ

20. พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยาคือใคร

  • 1) สมเด็จพระเพทราชา
  • 2) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
  • 3) สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
  • 4) สมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์

21. สมัยอยุธยาใช้ระบบใดในการจัดระเบียบชนชั้นในสังคม

  • 1) ระบบขุนนาง
  • 2) ระบบมูลนาย
  • 3) ระบบศักดินา
  • 4) ระบบชนชั้นปกครอง

22. ในสังคมอยุธยาคนกลุ่มใดมีจำนวนมากที่สุด

  • 1) ไพร่
  • 2) ทาส
  • 3) ขุนนาง
  • 4) พระสงฆ์

23. บุคคลใดไม่มีการกำหนดศักดินาไว้

  • 1) ไพร่
  • 2) ทาส
  • 3) พระสงฆ์
  • 4) พระมหากษัตริย์

24. ไพร่ประเภทใดขึ้นทะเบียนสังกัดพระมหากษัตริย์โดยตรง

  • 1) ไพร่สม
  • 2) ไพร่ส่วย
  • 3) ไพร่ทาส
  • 4) ไพร่หลวง

25. ข้อใดเป็นพระราชกณียกิจที่สำคัญของพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา

  • 1) สร้างวัด
  • 2) เสด็จออกผนวช
  • 3) สังคายนาพระไตรปิฎก
  • 4) ส่งสมณทูตไปเผยแผ่ศาสนา

26. ในสมัยอยุธยามีการเก็บฤชา อากร ส่วย จากบุคคลกลุ่มใด

  • 1) ราษฎร
  • 2) ชาวจีน
  • 3) ขุนนาง
  • 4) ชาวตะวันตก

27. กรมท่าซ้ายที่ตั้งในสมัยอยุธยามีหน้าที่เกี่ยวกับอะไร

  • 1) การค้าภายใน
  • 2) การค้ากับชาติยุโรป
  • 3) การค้ากับดินแดนทางตะวันตก
  • 4) การค้ากับดินแดนทางตะวันออก

28. ในสมัยอยุธยาสินค้าประเภทใดต้องซื้อขายผ่านพระคลังสินค้า

  • 1) ผ้าแพร
  • 2) พริกไทย
  • 3) กำมะถัน
  • 4) เครื่องปั้นดินเผา

29. อากรประเภทใดเก็บจากผู้ปลูกอ้อย ข้าวโพด

  • 1) อากรนา
  • 2) อากรสวน
  • 3) อากรศุลกากร
  • 4) อากรสมพัตสร

30. การสร้างและดูแลป้อม ค่าย จัดเป็นค่าใช้จ่ายประเภทใด

  • 1) เบี้ยหวัด
  • 2) การทหาร
  • 3) พระราชพิธี
  • 4) ราชการพิเศษ


ใบงานที่ 3





ให้ตอบคำถามต่อไปนี้


  • 1.ให้นักเรียนยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในท้องถิ่นของตนเองมา 1 อย่าง พร้อมเขียนประเมินความน่าเชื่อถืออย่างสมเหตุผล

ตัวชี้วัด   1.ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ส 4.1 ม.2/1 )
               2.วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1 ม.2/2)
                3.เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  (ส4.1 ม.2/3)

แนวคำตอบ : ………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..

  • 2.จากบทเรียนที่นักเรียนได้เรียนรู้มานี้ นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไร อธิบาย

ตัวชี้วัด   1.ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ส 4.1 ม.2/1 )
               2.วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1 ม.2/2)
                3.เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  (ส4.1 ม.2/3)
แนวคำตอบ : …………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………







  • ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ รวมทั้งการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ตามความเข้าใจของตนเอง

ตัวชี้วัด   1.ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ (ส 4.1 ม.2/1 )
               2.วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส 4.1 ม.2/2)
                3.เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  (ส 4.1 ม.2/3)






ใบงานที่ 2

เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์




  • นักเรียนตอบคำถามพัฒนาการคิดแล้วจัดทำรายงานแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์
          1. นักเรียนคิดว่าการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ควรมีหลักการอย่างไร

ตัวชี้วัด  1.วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1 ม.2/2)
               2.เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  (ส4.1 ม.2/3)

แนวคำตอบ : ………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..

           2. จากเรื่องที่ 2 ที่ได้เรียนมานักเรียนคิดว่าการวิเคราะห์และตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ประโยชน์อย่างไรต่อการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ตอบตามความคิดเห็นตนเอง

ตัวชี้วัด  1.วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1 ม.2/2)
              2.เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางปะวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  (ส4.1 ม.2/3)
แนวคำตอบ : ………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..




  • ให้นักเรียนไปค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยาและสมัยธนบุรีที่มีอยู่ในท้องถิ่นของนักเรียน หรือที่นักเรียนรู้จักหรือมีความสนใจจัดทำเป็นรายงานการวิเคราะห์และตีความข้อมูลที่ได้จากหลักฐานชิ้นนั้น

ตัวชี้วัด   1.ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ส4.1 ม.2/1 )
               2.วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ (ส4.1 ม.2/2)
                3.เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ  (ส4.1 ม.2/3)

แนวคำตอบ …………………………………………………………………………………………………………...
………………………………………………………………………………………………………..

ใบงานที่ 1

เรื่องที่   1 ความเข้าใจในหลักฐานทางประวัติศาสตร์


    

  • นักเรียนตอบคำถามพัฒนาการคิดแล้วจัดทำรายงานแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
  • นักเรียนมีหลักในการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างไร

ตัวชี้วัด  ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ส4.1 ม.2/1)

แนวคำตอบ : ………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..

  • หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่มีความน่าเชื่อถือควรมีลักษณะอย่างไร ตอบตามความคิดเห็นของตนเอง


ตัวชี้วัด  ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ส4.1 ม.2/1)

แนวคำตอบ : ………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………..

  • ให้นักเรียนรวบรวมภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในสมัยอยุธยาและสมัยธนบุรีที่นักเรียนรู้จัก โดยให้ค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้

ตัวชี้วัด  ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ ( ส4.1 ม.2/1)

แนวคำตอบ: ……………………………………………………………………………………..........…………...…………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………….…….......…………………………………………..................………………………………………..…….…...…………………………………………………………………………………………...................….……………………………………………………………………………………………………........................................................